วันศุกร์ที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2552

ผลการประเมิน การสอน

ผลการประเมิน การสอนรายวิชา 10361601 การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร ตอนเรียน 16ภาคการศึกษา 1/2552 ศูนย์ประจวบคีรีขันธ์ นักศึกษา โครงการจำนวน 11คน สมทบเรียน 34 คน รวม 75 คน มีผู้ประเมิน 39 คน (คิดเป็นร้อยละ 86.67) ผู้สอน อาจารย์ปรมัตถ์ปัญปรัชญ์ ต้องประสงค์ ดดยภาพรวมแล้วประเมินอยู่ในระดับดีมาก (4.74±0.442) โดยจำแนกเป็นหัวข้อการประเมินดังนี้ เข้าสอนตรงเวลาและสม่ำเสมอ (5.00±0.000) ตั้งใจและกระตือรือร้นในการสอนและใช้เวลาในการสอนอย่างคุ้มค่า (4.95±0.23) มีบุคลิกภาพที่เหมาะสม(การแต่งกาย ท่าทาง มนุษยสัมพันธ์) (4.95±0.223) มอบหมายงานที่สอดคล้องกับการเรียนการสอน (4.79±0.469) มีความรู้ในเนื้อหาวิชาอย่างกว้างขวาง ถูกต้องและทันสมัย (4.79±0.0.409) ใช้วิธีการวัดและประเมินผลการเรียนที่มีประสิทธิภาพและยุติธรรม (4.72±0.510) เปิดโอกาสให้มีการแสดงความคิดเห็น และแลกเปลี่ยนประสบการณ์ (4.62±0.493) อธิบายและตอบข้อสงสัยได้ชัดเจน (4.59±0.498) ให้คำปรึกษา/คำแนะนำ/คำอธิบายทั้งภายในและภายนอกต่อผู้เรียน (4.59±0.498) ชี้ให้ผู้เรียนเห็นความสัมพันธ์ของวิชาที่เรียนกับวิชาอื่นที่เกี่ยวข้องและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ (4.67±0.530) กำหนดกรอบแนวการเรียนการสอนอย่างเป็นระบบ และเข้าใจชัดเจนตรงกันทุกฝ่าย (4.46±0.555) มีขั้นตอนในการสอนที่ชัดเจน เข้าใจง่าย (4.38±0.544) ใช้เทคนิคและวิธีการสอนกระตุ้นความสนใจในการเรียนและเข้าใจง่าย (4.51±0.506) ใช้เอกสาร สื่อ และอุปกรณ์การสอนที่เหมาะสม (4.64±0.537) แนะนำหนังสือและแหล่งค้นคว้าเพิ่มเติม (4.56±0.598)

เนื้อหาการเรียน ครั้งที่ 4

บทที่ 7 คุณธรรมและจริยธรรมสำหรับผู้บริหารในการพัฒนาเทคโลยีสารสนเทศ

7.1 กฤหมายเหี่ยวกับเทคโลยีสารสนเทศ
7.2 จริยธรรมในการใช้เทคโลยีสารสนเทศ
7.3 ทรัพย์สินทางปัญญา (Intellectual Property)

บทที่ 8 การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศสถาบันการศึกษาในอนาคต
8.1 ปรับตัวของสถาบันการศึกษากับยุคสังคมฐานความรู้ในอนาคต
8.2 รูปแบบเทคโนโลยีการศึกษาในอนาคต
8.3 แนวโน้มการใช้เทคโนโลยีของสถาบันการศึกษา
8.4 เทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
8.5 การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคตอย่างมีประสิทธิภาพ
8.6 การปฏิบัติตนให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีสารสนเทศ

เนื้อหาการเรียน ครั้งที่ 3

บทที่ 5 ความรู้พื้นฐานของนวัตกรรมการศึกษา
5.1 ความหมายของนวัตกรรม
5.2 นวัตกรรมทางการศึกษา
5.3 การสร้างนวัตกรรมทางการศึกษา
5.4 หลักการของนวัตกรรมการศึกษา
5.5 แนวโน้มของนวัตกรรมและการใช้นวัตกรรมใหม่ในองค์กร

บทที่ 6 การประยุกต์ใช้นวัตกรรมทางการศึกษา
6.1 การจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บไซต์
6.2 บทเรียนออนไลน์
6.3 โมบายเลิร์นนิ่ง (Mobile-Learning)
6.4 สวนดุสิตอินเทรอ์เน็ตบรอดคาสติ้ง (Suan Dusit Internet Broadcasting : SDIB)
6.5 ห้องสมุดเสมือน (Virtual Library)